-
Call Us
-
Email Us
-
Global Certificate
ISO 14001:2015
- เข้าสู่ระบบ
ยางมะตอยน้ำ CSS-1hP
Reference : P24-0008
ยางมะตอยน้ำ CRS-1hP ผลิตโดยการนำยางแอสฟัลต์ซีเมนต์ มาตีให้กระจายเป็นอนุภาคเม็ดเล็ก ๆ อยู่ในน้ำรวมกับสารเคมีประเภทอิมัลซิไฟเออร์ (Emulsifier) จนกลายเป็นเนื้อเดียวกันแล้ว ปรับปรุงคุณภาพด้วยยางพาราจากธรรมชาติ ใช้สำหรับการทำงาน Para Slurry Seal |
ยางมะตอยน้ำ CSS-1hP (Cationic Slow Setting) |
ผลิตภัณฑ์ยางมะตอยน้ำชนิด Cationic Emulsified Asphalt ยางแอสฟัลต์อิมัลชั่นที่ผิวมีประจุบวก โดยมีอัตราการจับตัว (setting) หรือการระเหยออกของน้ำช้า (Slow Setting) ซึ่งผลิตโดยการนำยางแอสฟัลต์ซีเมนต์ มาตีให้กระจายเป็นอนุภาคเม็ดเล็ก ๆ อยู่ในน้ำรวมกับสารเคมีประเภทอิมัลซิไฟเออร์ (Emulsifier) จนกลายเป็นเนื้อเดียวกันแล้ว ปรับปรุงคุณภาพด้วยยางพาราจากธรรมชาติ ใช้สำหรับการทำงาน Para Slurry Seal เป็นการฉาบผิวทางที่พัฒนามาจากผิวทางแบบ Slurry Seal/Cape Seal โดยมีส่วนผสมประกอบด้วย CSS-1hP และวัสดุมวลรวม(หิน) น้ำ ซีเมนต์(Mineral Filler) และสารผสมเพิ่ม (Additives) ในสัดส่วนที่เป็นไปอย่างถูกต้องเหมาะสม โดยใช้เครื่องจักรชนิดเดียวกับงาน Slurry Seal |
คุณสมบัติเด่น |
Specification |
คุณลักษณะที่ต้องการ | หน่วย | มาตรฐานที่กำหนด |
1. ความหนืดเซย์โบลฟูรอลที่ 50 ?C | SFS | 20-100 |
2. การแยกชั้น (Settlement) หลังจากเวลา 5 วัน ไม่เกิน | % | 7.5 |
3. เสถียรภาพต่อการเก็บภายใน 24 ชม. ไม่เกิน | % | 1.5 |
4. ปริมาณที่ค้างบนแร่ง 850?m ( No.20) ไม่เกิน | % | 0.1 |
5. ประจุของอนุภาคแอสฟัลต์ | บวก | บวก |
6. กากที่เหลือโดยการระเหยไม่น้อยกว่า | % | 57 |
7. Softening Point ไม่น้อยกว่า | % | 60 |
8. Elastic Recovery @ 25 ?C ที่ระยะ 10 cm. ไม่น้อยกว่า | % | 30 |
9. Toughness ไม่น้อยกว่า Toughness ไม่น้อยกว่า | Kg.cm Kg.cm | 40 20 |
10. เพนิเทรชั่น (Penetration) ที่ 25 ํC น้ำหนักกด 100g. เวลา 5 วินาที | 0.1 mm. | 40-90 |
11. การละลายใน Toluene ไม่น้อยกว่า | % | 97.5 |
12. การยืดดึง (Ductility) ที่ 25 ํC อัตรา ความเร็วของเครื่องดึง 5 cm./นาที ไม่น้อยกว่า | cm. | 40 |
มาตรฐาน |
• มอก. 2157/2547 มอดิฟายด์แอสฟัลต์อิมัลชั่นสำหรับงานทาง • ทล.ม. 415/2546 มาตรฐานวิธีการฉาบผิวทางแบบพาราสเลอรี่ซีล (Para Slurry Seal) |
ข้อควรระวัง |
• ลดความเสี่ยงในการปรับเปลี่ยนสภาพของยาง ควรหลีกเลี่ยงวิธีการถ่ายของเหลวจากตำแหน่งหนึ่งไปยังอีกตำแหน่งหนึ่ง โดยผ่านเครื่องดูดของเหลว (ปั๊ม) มากกว่า 1 ครั้งหรือต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน และควรควบคุมความเร็วรอบ (rpm) ของปั๊มดูดของเหลว (ปั๊มปั่นยาง) ให้ความเร็วรอบคงที่ ไม่สูงมากเพื่อป้องกันและลดปัญหาการเกิดฟองยาง • เมื่อจำเป็นต้องให้ความร้อนแก่ Asphalt Emulsion ให้ค่อย ๆ คนอย่างช้า ๆ เพื่อช่วยลดและกำจัดการเกิดหน้ายาง • ให้ดูดยางออกจากถังเก็บทางด้านล่างของถังเก็บ เพื่อลดปัญหาการปนเปื้อนของหน้ายาง (ในกรณีที่มีหน้ายางในถังเก็บ) • เมื่อมีความจำเป็นต้องเจือจาง Asphalt Emulsion ให้ตรวจสอบก่อนว่า น้ำที่จะนำมาเจือจางน้ำเข้ากันได้ดีกับ Asphalt Emulsion หรือไม่ ทำได้โดยการทดลองในปริมาณที่น้อย ๆ ก่อน • ในการเจือจางให้เติมน้ำทีละน้อยอย่างช้า ๆ ลงใน Asphalt Emulsion (ไม่ควรเติม Asphalt Emulsion ลงในน้ำ เพราะมีความเสี่ยงที่จะผสมไม่เข้ากัน) • ในกรณี่ที่ต้องเก็บ Asphalt Emulsion เป็นเวลานาน ๆ ควรทำการกวน Asphalt Emulsion ในถังเก็บด้วย หรืออาจใช้วิธีการ Circulate ก็ได้ – หลีกเลี่ยงการหายใจนำไอระเหยและควันเข้าไปในร่างกาย |
การนำไปใช้งาน |
งานฉาบผิวทางแบบเรียบ Para Slurry Seal เพื่อบำรุงรักษาผิวทางเดิม, เพิ่มความต้านทานต่อการลื่นไถลในจุดเสี่ยงอันตราย |